Dr. Lee Kinsey นักบำบัดเรื่องเซ็กส์ของ The Montfort
Group อธิบายว่า เซ็กส์ที่ดีเป็นเรื่องที่ซับซ้อน
จึงมีหลายครั้งที่การมีเซ็กส์ด้วยการสอดใส่ไม่ได้สร้างประสบการณ์ทื่ดีให้กับทั้งฝ่ายรุกและรับ
นอกจากนี้ยังไม่มีการสอนการมีเซ็กส์ที่ดีให้กับเกย์อีกด้วย
ไม่เคยมีการสอนว่าการมีเซ็กส์ที่ดีจะต้องทำยังไง
ในทางการแพทย์เรียกกระบวนการนี้ว่า U = U โดย U ตัวแรกมาจาก Undetectable (ตรวจไม่พบ) ส่วน U ตัวที่สองมาจาก Untransmittable (ไม่ถ่ายทอด) ดังนั้น U = U จึงหมายความว่า เมื่อตรวจไม่เจอ (เชื้อเอชไอวี) ก็ไม่สามารถถ่ายทอดเชื้อสู่ผู้อื่นได้
ทั้งนี้ทั้งนั้นแล้ว ผู้ที่มีเชื้อเอชไอวีอยู่ไม่ได้หมายความว่าจะสามารถถ่ายทอดเชื้อสู่ผู้อื่นได้เสมอไป เพราะหากผู้ที่มีเชื้อเอชไอวีรับประทานยาต้านไวรัสเป็นประจำ จะทำให้ไม่สามารถตรวจเจอเชื้อเอชไอวี หรือที่เรียกว่า การเกิดกระบวนการ U = U
โดย U ตัวแรกมาจากคำว่า Undetectable (แปลว่าตรวจไม่พบ) ส่วน U ตัวที่สองมาจาก Untransmittable (แปลว่าไม่ถ่ายทอด) ดังนั้น U = U จึงหมายความว่า เมื่อตรวจไม่เจอ (เชื้อเอชไอวี) ก็ไม่สามารถถ่ายทอดเชื้อสู่ผู้อื่นได้
ภาพประกอบจากอินเทอร์เน็ต ข้อมูลบางส่วนจาก Centers for Disease Control and Prevention (CDC) และบทสัมภาษณ์จากศาสตราจารย์กิตติคุณนายแพทย์ ประพันธ์ ภานุภาค ผู้อำนวยการศูนย์วิจัยโรคเอดส์ สภากาชาดไทย
ท่าที่ถูกพัฒนาต่อมาจากท่า Missionary โดยให้ฝ่ายรับยกขาขึ้นสูง
หรือยกเป็นตัว V จนเกือบชิดอก ซึ่งจะทำให้ฝ่ายรุกเข้ามาได้ลึกมาขึ้น
โดยท่านี้อาจต้องอาศัยการช่วยจับขาของฝ่ายรุกเพื่อให้ฝ่ายรับไม่มีอาการเมื่อยขานั่นเอง
3. Men on Top
Men on Top
หลายคนอาจเคยได้ยินคำว่า Women on top กันมาบ้าง แต่สำหรับท่านี้ก็ไม่แตกต่างกัน เพราะเป็นท่าที่ให้ฝ่ายรับขึ้นนั่งคล่อมบนตัวของฝ่ายรุก ภาษาชาวบ้านก็คงหนีไม่พ้น “นั่งเทียน” ซึ่งเปรียบเปรยเจ้าน้องชายเป็นเทียนนั่นเอง ฝ่ายรับสามารถควบคุมจังหวะและการเคลื่อนไหวของกิจกรรมได้ตามใจต้องการ และยังเข้าถึงลึกถึงใจ แต่อย่างไรก็ตามท่านี้ต้องระมัดระวังความรุนแรงสักหน่อย เพราะหากโยกแรงเกินไปอาจทำให้ฝ่ายรุกเจ็บได้
4. Reverse Cowboy
Reverse Cowboy
ท่านี้คล้ายกับท่า Men on top เพียงแต่ให้ฝ่ายรับหันหลังให้ฝ่ายรุก คอยควบคุมจังหวะ และความเร็วความแรง ถือเป็นท่าที่เข้าไปได้ลึกมากเลยทีเดียว
ผู้ที่ได้รับเชื้อ HIV ส่วนใหญ่มักติดจากผู้ที่ไม่รู้ว่าตนเองมีเชื้อ จึงส่งต่อกันผ่านการมีเพศสัมพันธ์ที่ไม่ป้องกันหรือการป้องกันที่ผิดพลาด ยาเพร็พ (PrEP) จึงเป็นยาสำหรับผู้ที่มีความเสี่ยงต่อการติดเชื้อ HIV แต่ไม่ควรมองว่าเป็นวิธีแรกในการป้องกัน ควรมองว่าเป็นเพียงส่วนหนึ่งของการป้องกันที่มีประสิทธิภาพ เมื่อกินยาเพร็พจึงควรใช้ถุงยางอนามัยทุกครั้ง
ยาเพร็พ (PrEP; Pre Exposure Prophylaxis) เป็นยาต้านไวรัสที่สามารถป้องกันเชื้อเอชไอวีในกลุ่มผู้ที่ไม่มีเชื้อ ผู้มีความเสี่ยงสูงควรกินเป็นประจำเพื่อลดความเสี่ยงต่อการติดเชื้อ HIV เหมาะสำหรับผู้ที่ทราบว่าคู่นอนของตนมีเชื้อ HIV ผู้ที่มีปาร์ตี้และไลฟ์สไตล์ที่เสี่ยงต่อการติดเชื้อ ผู้ที่เปลี่ยนคู่นอนบ่อย ผู้ที่ใช้ยาเสพติดบางกลุ่ม รวมไปถึงผู้ที่ทำงานบริการทางเพศ
ในปัจจุบันผู้ที่เผชิญความเสี่ยงจากการติดเชื้อ HIV สามารถปรึกษาแพทย์เพื่อขอรับ “ยาเป๊ป” (PEP) ในการเพิ่มโอกาสหลังเผชิญความเสี่ยงการติดเชื้อ HIV เมื่อกินยาครบตามกำหนดสามารถลดความเสี่ยงในการติดเชื้อได้ 80%
การกินยาเป๊ปไม่สามารถป้องกันการติดเชื้อได้ 100% เนื่องจากปัจจัยที่มีผลต่อการติดเชื้อหลังรับยา PEP ในแต่ละคนต่างกัน เช่น แหล่งที่มาของเชื้อ HIV ปริมาณของ viral load เป็นต้น นอกจากนี้ความสม่ำเสมอในการกินยา ความแข็งแรงของตัวคนไข้ก็ส่งผลต่อโอกาสที่จะติดหรือไม่ติดเชื้อ HIV
สิ่งสำคัญที่สุดคือ หลังพบว่าตนเองมีความเสี่ยงต่อการติดเชื้อ HIV ควรปรึกษาแพทย์เพื่อประเมินความเสี่ยงให้เร็วที่สุด อย่างไรก็ตามกินยาเป๊ปไม่สามารถลดความเสี่ยงการติดเชื้อ HIV แต่จำเป็นจะต้องลดพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ อย่าปล่อยให้ความสนุกเพียงชั่วคราวทำลายอนาคต สำหรับผู้ที่มีพฤติกรรมความเสี่ยงสูงเป็นประจำควรหมั่นตรวจเลือดและเลือกกินยาเพร็พแทนยาเป๊ปจะดีที่สุด