หมวดหมู่ Thaihealth

เลิกบุหรี่ทั่วไทยฯ หยุดโรค NCDs

โครงการ “3 ล้าน 3 ปี เลิกบุหรี่ทั่วไทย เทิดไท้องค์ราชัน” มุ่งหวังที่จะอาศัยกลไกอาสาสมัครสาธารณสุขที่มีประจำอยู่ทุกหมู่บ้านจำนวนประมาณ 1 ล้านคนทั่วประเทศ มาเชิญชวน ท้าชวน ให้กำลังใจและช่วยเหลือให้คนสูบบุหรี่คิดเลิกสูบให้ได้ปีละหนึ่งคน ต่ออาสาสมัครหนึ่งคน รวมสามปีก็จะได้คนเลิกสูบสามล้านคน

เพิ่มกิจกรรมทางกาย ง่ายๆ เพียงแค่เดิน

ในอดีตเราอาจคุ้นชินกับคำว่า ออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ กีฬาเพื่อสุขภาพ แต่ในปัจจุบันเราต้องทำความรู้จักกับศัพท์ใหม่ นั่นคือคำว่า “กิจกรรมทางกาย” ที่นับรวมทุก ๆ กิจกรรมที่ทำให้ร่างกายเราได้เคลื่อนไหว ออกแรง ทั้งระดับเบา ปานกลาง และหนัก

“โรงเรียนรักเดิน” ปลุกกิจกรรมทางกายให้เยาวชนไทย

กิจกรรมทางกาย หมายถึง การขยับร่างกายหรือเคลื่อนไหวโดยใช้กล้ามเนื้อมัดใหญ่ แบ่งได้เป็น 3 ระดับ ได้แก่ ระดับเบา ระดับปานกลาง และระดับหนัก ซึ่งจากผลสำรวจการมีกิจกรรมทางกายระดับประเทศ พบว่า ปี 2555 เด็กไทยมีกิจกรรมทางกายร้อยละ 67.6 และลดลงในปี 2557 เหลือร้อยละ 63.2 และคาดการณ์ว่าในอีก 3 ปี จะมีเด็กไทยถึง 1 ใน 5 ที่อยู่ในภาวะอ้วน และมีความเสี่ยงต่อการเป็นโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCDs)

ปิดเทอมสร้างสรรค์ เปิดหน้าต่างสู่การเรียนรู้

ปัญหาของผู้ปกครองในช่วงปิดเทอมคือ “สามเดือนนี้ จะให้ลูกทำอะไร?” จากผลสำรวจในปี 2561 พบว่า กิจกรรมที่เด็ก เยาวชน ตั้งใจจะทำในช่วงปิดเทอม 3 อันดับแรก คือ เล่นมือถือ อินเตอร์เน็ต 71% ตามด้วยการไปเที่ยวต่างจังหวัด 53% และหางานพิเศษทำ 46% นั่นคือสิ่งที่ผู้ปกครองต้องการจริงหรือ?

Go Zero Waste ชีวิตใหม่ ไร้ขยะ

เคยถามตัวเองไหมว่า แต่ละวันเราสร้างขยะมากน้อยแค่ไหน? การไม่สร้างขยะคือคำตอบที่ดีที่สุดของปัญหาขยะ แต่เราปฏิเสธไม่ได้ว่า เราทุกคนสร้างขยะกันทุกวัน แล้วอะไรคือทางออกของปัญหานี้?

“วิชาชีวิต” ภูมิคุ้มกันเด็กและเยาวชนยุคใหม่

สิ่งที่ทำได้ดี ทำได้เก่งในห้องเรียน ไม่ได้สอนว่ากระสุนนัดแรกที่ยิงออกไป มันจะส่งผลกระทบอะไรกับชีวิต วิชาชีวิตจึงเป็นทักษะที่จะช่วยให้เด็กและเยาวชนรับมือกับปัญหาได้

สวนพื้นที่สุขภาวะแห่งการเรียนรู้

กรุงเทพมหานครมีนโยบายที่จะพัฒนาพื้นที่รกร้างให้กลายเป็นพื้นที่สุขภาวะ โดยมุ่งสร้างให้แต่ละเขตของกทม. มีพื้นที่สุขภาวะอย่างน้อย 1 แห่ง ซึ่ง “สวนพื้นที่สุขภาวะแห่งการเรียนรู้” แห่งนี้เกิดขึ้นจากความร่วมมือระหว่าง สสส. กทม. ม.สยาม และเขตในพื้นที่ และที่สำคัญคือ ประชาชนในพื้นที่ที่ช่วยกันพัฒนาสวนแห่งนี้ให้กลายเป็นพื้นที่สุขภาวะอย่างสมบูรณ์แบบ

‘สวนสุขภาวะ – ห้องสมุดกำแพง’ แห่งการเรียนรู้

จากพื้นที่ที่ไม่มีใครเหลียวแล มีเพียงขยะกองโตเป็นภัยอันตรายของชุมชน แต่ด้วยการพัฒนาที่ไม่มีวันสิ้นสุด เป็นจุดสะท้อนความเข้มแข็งของการมีส่วนร่วมของสมาชิกในชุมชน เยาวชน นักเรียน นักศึกษา และภาคีเครือข่าย พื้นที่แห่งนี้ได้พัฒนาอย่างต่อเนื่อง และในที่สุดได้กลายเป็น “สวนพื้นที่สุขภาวะแห่งการเรียนรู้”

ทำความเข้าใจชีวิตของ “คนไร้บ้าน”

“อยู่ข้างนอกไม่ได้สบาย ตัวใครตัวมัน ใครป่วยตายก็ตัวใครตัวมัน แต่พอมาอยู่ภายใต้ชายคาเดียวกันก็เหมือนเป็นครอบครัว เกิดเป็นความเอื้ออาทร เอื้อเฟื้อต่อกัน เลยเป็นพี่เป็นน้อง และทำให้ความเป็นอยู่ดีกว่าตอนที่อยู่ข้างนอก”

‘บ้านเตื่อมฝัน’ บ้านหลังเดียวของ “คนไร้บ้าน”

กลุ่มคนที่ใช้ชีวิตในพื้นที่สาธารณะหลายคนอาจมองว่าเป็นผู้ที่มีปัญหาทางสุขภาพจิต แต่แท้จริงแล้วพวกเขาเหล่านั้นเป็นคนปกติที่ประสบกับปัญหาเศรษฐกิจ ปัญหาครอบครัว ฯลฯ จนทำให้ออกจากบ้านมาเพื่อเผชิญกับโลกเพียงลำพัง