
ในช่วงแรก นก มักใช้แทนบุคคลที่ไม่สมหวังในความรัก คนที่อกหัก ต่อมาคำว่า “นก” ถูกใช้ในหลาย ๆ สถานการณ์ในชีวิตที่แสดงออกถึงความผิดหวัง

วันวาเลนไทน์สำหรับผู้ที่สมหวังในความรัก หลายคนจดจำภาพของการมอบดอกกุหลาบให้กัน ในมุมกลับกันสำหรับผู้ที่ผิดหวัง หรืออกหักจากความรัก มักเป็นวันที่อ่อนแอและเจ็บปวดกับบาดแผล ดอกกุหลาบที่ควรจะมอบให้กัน กลายเป็นหนามที่คอยทิ่มแทง ทำให้ผู้ที่ไม่สมหวังในความรักอยากจะข้ามวันนี้ไปเลยทีเดียว

จากแม่ค้าส้มตำ สู่ปราชญ์ชาวบ้าน ผู้นำ “ศาสตร์พระราชา” มาปรับใช้ โดยการปลูกผักกินเองจนสามารถต่อยอดเป็นศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงตามรอยพ่อ นำไปสู่การพัฒนาชุมชน และเป็นส่วนหนึ่งของ “เมืองแห่งสุขภาวะ”

กำแพงสูงตระหง่านและรั้วลวดหนามกั้นโดยรอบ เป็นภาพปรากฎของ “คุก” ในสายตาของคนในสังคม ที่แบ่งแยกระยะห่างที่ชัดเจนระหว่างผู้คนในเรือนจำกับสังคมภายนอก จนทำให้ผู้ใช้ชีวิตหลังกำแพงลืมไปเลยว่าสังคมที่แท้จริงเป็นอย่างไร และเมื่อกลับออกมาอีกครั้งก็ต้องเผชิญกับนานาทัศนะ ที่มองคนหลังกำแพงในด้านติดลบ

หลายคนอาจคุ้นหูกับประโยคที่ว่า “เหล้าเป็นตัวนำในการเข้าสังคม” เพราะงานบุญประเพณี งานรื่นเริงหรืองานเลี้ยงฉลองส่วนใหญ่มักจะมีเครื่องดื่มแอลกอฮอล์เป็นตัวชูโรงให้ผู้คนมาพบเจอกัน แต่นั่นเป็นเพียงความคิดหรือมายาคติที่ถูกสร้างขึ้น ซึ่งการจัดงานเลี้ยงที่ไร้เครื่องดื่มแอลกอฮอล์สามารถทำได้ หากทุกคนหนักแน่นที่จะจัดมันขึ้นมา

เทคโนโลยีการสื่อสารที่พัฒนาอย่างรวดเร็ว ส่งผลให้เกิดข่าวลวง และข่าวปลอม อันเป็นปัญหาระดับสากลที่เกิดขึ้นทั่วโลก สังคมยุคดิจิทัลที่พัฒนาให้ช่องทางสื่อสารบนโลกออนไลน์ถูกพัฒนาให้ง่ายต่อการใช้งาน อันเป็นต้นเหตุของข่าวลวง ข่าวปลอม

รายการโทรทัศน์ประเภทบันเทิงยอดนิยมคงหนีไม่พ้น “ละครไทย” โดยละครโทรทัศน์ไทยเรื่องแรกคือเรื่อง สุริยานีไม่ยอมแต่งงาน ออกอากาศทางช่อง 4 บางขุนพรหม ทั้งนี้ละครไทยมักประกอบไปด้วยตัวละครฝ่ายดี ฝ่ายเลว และสามารถเดาตอนจบของเรื่องได้ง่าย โดยมักจะจบลงแบบสุขนฏกรรม และมีการทำซ้ำกันบ่อยครั้ง